บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2020

Thirumandiram ตำนานโบราณจากอินเดียใต้ ตอนที่ 2 พระเจ้าอยู่กับทุกคน เป็นความรักอมตะอันบริสุทธิ์ไม่ซ่อนเร้น

รูปภาพ
มาตามคำสัญญาค่ะ  บทความนี้ และ ต่อจากนี้ ทั้งหมด 3,047 บท เป็นการแปลและถอดค วามจาก  T irumandiram "คู่มือมนุษย์จากโบราณกาล" มหาสมุทรแห่งประสบการณ์ จิตวิญญาณและความลึกลับของธรรมชาติ   ซึ่งอาจเป็นสารอีกฉบับหนึ่ง  ที่พระเจ้าเขียนเอาไว้ให้มน ุษย์เป็นเครื่องมือในการฝึก ฝนเพื่อค้นพบ "ไฟ" ใ นตน ผ่าน Siddhar Thirumoolar นักบุญชาวทมิฬ ภาคใต้ของอินเดีย เมื่อ 7000 ปีก่อน โดย ปรัชญาพื้นฐานทั้งหมดที่ปรา กฏคือ "ความรัก"    ซึ่งครูเก๋จะค่อยๆ แปลและถอดความตามความเข้าใจและพิจารณาวันต่อวันนะคะ สำหรับผู้ที่สนใจ ลองติดตามตำนานโบราณเล่มนี้ ซึ่งส่งอิทธิพลมาจนถึงปัจจุบันแก่ประชากรหลายล้านคนในอินเดียใต้นะคะ  บทที่ 1 One is Many   จากบท In Praise of God The One is He, the Two His sweet Grace,  in Three He Stood, in all the Four witnessed,  The Five He conquered, the Six He filled,  The Seven Worlds pervades, mannifest the Eight  and so remains. บทที่ 1 หลากหลายรวมเป็นหนึ่ง (หมายเหตุ: แปลและถอดความโดย ครูเก๋ วรารักษ์ สู่โนนทอง ตามความพยายามเข้าใจ ซึ่งผู้อ่าน ควรลองใช้ความเข

Tirumandiram "คู่มือมนุษย์จากโบราณกาล" ตอนที่ 1 มหาสมุทรแห่งประสบการณ์ จิตวิญญาณและความลึกลับของธรรมชาติ

รูปภาพ
ครั้งหนึ่ง ครูเก๋ได้รับเกียรติจากทาง Yoga Journal Thailand ให้เป็นครูร่วมสอนใน งาน Yoga World Festival ในเมือง Mahabalipuram  ซึ่งอยู่ในรัฐทมิฬนาดู ภาคใต้ของอินเดีย ในเดือนพฤศจิกายน 2016  ค่ะ    สายโยคะทุกคนรู้จักกับปราชญ์ปตัญชลี  และรู้จักกันว่าโยคะมีกำเนิดจากตำราโยคะสูตรที่เขียนโดยปตัญชลี คือ Patanjali Yoga Sutra แต่จาก การเดินทางไปสอนในงาน Yoga World Festival ในเมือง Mahabalipuram ในรัฐทมิฬนาดู ภาคใต้ของอินเดีย ในครั้งนั้น ทำให้ครูเก๋ได้รู้จักกับ Siddhar Thirumoolar  ชาวทมิฬ ซึ่ง อันที่จริงแล้ว  คือท่านแรกที่ให้กำเนิดโยคะในประเทศอินเดียเมื่อ  7,000  ปีก่อน โดยเขียนคัมภีร์เป็นภาษาทมิฬ ก่่อนที่ท่านปตัญชลีจะนำมาเขียนเป็นภาษาสันสกฤต  ซึ่งแพร่หลายมากกว่า แต่เพราะภาษาทมิฬไม่ได้ใช้กันแพร่หลาย ชื่อของท่าน  Thirumoolar  จึงหายไป  แต่ต้องถือว่า ผู้ให้กำเนิดโยคะโดยแท้จริงแล้วคือ ท่าน  Thirumoolar ในดินแดนทมิฬแห่งนี้ ซึ่งชาวทมิฬทุกคนรู้ดี เป็น ความภูมิใจของชาวทมิฬ ที่เขาอยากจะให้ชาวโลกได้รู้บ้าง ในวันนั้น ครูเก๋รู้สึกว่า การที่ครูเก๋ได้เดินทางมายังดินแดนของท่าน อยู่ร่วมกับประชาชนของท่าน  พ